ปะการังฟอกขาว 51- 90 %

ความรุนแรง

icon-coral วันที่แจ้ง: 20 มิถุนายน 2567
icon-coral วันที่สำรวจ: 20 มิถุนายน 2567
icon-coral ปะการังฟอกขาว 51- 90 %

ช่วงที่ 1 การเกิดปะการังฟอกขาว

รหัส
ความรุนแรง
%ปะการังฟอกขาว
รายละเอียดการประเมินด้วยสายตา
รหัส
3
ความรุนแรง
ปะการังฟอกขาว 51- 90 %
%ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว 51- 90 %
รายละเอียดการประเมินด้วยสายตา
พบปะการังฟอกขาวหลายโคโลนี โดยปะการังฟอกขาวมีมากกว่าครึ่งหนึ่งของปะการังมีชีวิต

ช่วงที่ 2 การตายหลังจากการฟอกขาวสิ้นสุดลงแล้ว

%ปะการังที่เกิดการฟอกขาวแล้วตาย
ระดับความเสียหาย
รายละเอียดการประเมินด้วยสายตา
%ปะการังที่เกิดการฟอกขาวแล้วตาย
ต่ำ
ระดับความเสียหาย
1-10
รายละเอียดการประเมินด้วยสายตา
ปะการังที่เกิดการฟอกขาวแล้วตาย 1-10 %
ชื่อสถานที่ / เกาะ / อ่าว : เกาะแมว (ปากทะเลสาบสงขลา)
ทิศ : ทิศเหนือ
จังหวัด : สงขลา
พิกัด : Lat. 7.26322
พิกัด: Long. 100.58888
ความลึก (เมตร) : 1-4.5 เมตร
โซนปะการัง: พื้นราบ
วันที่สำรวจ : 20 มิถุนายน 2567
เวลาสำรวจ : 09:00
อุณหภูมิน้ำ ( ํC) : 32.44 ํC
วิธีสำรวจ :
ประเมินด้วยสายตาครอบคลุมพื้นที่โดยประมาณ (อย่างน้อย 100 ตร.ม./พื้นที่) : 500 ตร.ม.
อื่นๆ : -
coral-icon

รายงานสรุปปะการังฟอกขาว

จากการสำรวจแนวปะการังด้วยสายตา โดยวิธีการดำน้ำลึก พบปะการังฟอกขาว 85% สีซีดจาง 5% และตาย
จากการฟอกขาว 10% ปะการังที่ฟอกขาว ได้แก่ ปะการังโขด (Porites sp.) ปะการังลายดอกไม้ (Pavona sp.)
ปะการังรังผึ้ง (Goniastrea sp.) และปะการังจาน (Turbinaria sp.) จากการเฝ้าติดตามสถานการณ์ปะการัง
ฟอวขาวอย่างต่อเนื่อง ในครั้งนี้เริ่มพบปะการังโขดตายจากการฟอกขาว และเริ่มมีสาหร่ายและตะกอนปกคลุม
บนโคโลนีปะการัง ผลการติดตามอุณหภูมิน้ำทะเลด้วยวิธีวาง data temperature logger อุณหภูมิน้ำทะเลมี
ค่าเฉลี่ย 32.44±0.52 °C  ซึ่งยังคงมีค่าที่สูงอยู่ แต่ในภาพรวมในช่วงสถานการณ์ปะการังเกิดการฟอกขาวพบว่า
กราฟอุณหภูมิน้ำทะเลมีแนวโน้มที่ลดลง

coral-icon

ภาพประกอบ

coral-icon

แผนที่ที่เกี่ยวข้อง